วันพุธที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2559

ประวัติผู้สร้างบล็อก

ชื่อ นางสาวอันธิกา มะลิงาม
ชื่อเล่น อันปัน
รหัสนักศึกษา 57182400112
สาขาคริตศาสตร์และสถิติประยุกต์
เกิด 26 ธันวาคม 2538
ที่อยู่ บ้านกล้วย หมู่4 ตำบลยางสว่าง อำเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์
โทร : 0899632492
email : antikaan2492@gmail.com

ตัวเลข อารบิก

ที่มาของเลขฮินดู-อารบิก

เริ่มมาจากเมื่ออินเดียใช้เลข 0 ในระบบเลขฐาน 10 ทำให้การเขียนตัวเลขและการคำนวณทดไปเรื่อยๆ อย่างเป็นระบบจาก 10 100 1000 ไม่มีที่สิ้นสุด และแม้ไม่เรียกว่าอินเดียเป็นชาติแรกที่ค้นพบระบบเลขฐาน 10 ที่ในอดีตเคยใช้มาแล้ว แต่อียิปต์หรือโรมันก็ไม่ได้ใช้เลข 0 เพียงใช้สัญลักษณ์ที่ต่างกันแทนเลข 10 100 1000 ยังเป็นที่ถกเถียงด้วยว่าอินเดียเป็นอารยธรรมแรกที่คิดค้นการใช้ 0 หรือได้รับอิทธิพลจากอาหรับ หรืออาหรับรับจากอินเดีย ที่ถือข้างอินเดียอธิบายได้ว่าจารึกของอินเดียตั้งแต่ค.ศ.595 ได้ปรากฏเลข 1-9 และ 0 แล้ว ซึ่งเป็นช่วงก่อนความเจริญของอารยธรรมอาหรับ เมื่ออาหรับนำไปใช้และเผยแพร่ในโลกตะวันตก จึงทำให้เข้าใจว่าอาหรับเป็นผู้ค้นพบและเรียกระบบตัวเลขแบบนี้ว่า "เลขอารบิก"แต่เนื่องจากหลักฐานไม่ชัดเจน จึงมีการเรียกระบบตัวเลขนี้อย่างประนีประนอมว่า "ระบบเลขฮินดู-อารบิก" (Hindu-Arabic System) เป็นการยอมรับว่าอินเดียมีบทบาทสำคัญคู่กับอาหรับในการประดิษฐ์และพัฒนาตัวเลขระบบนี้


เลขฮินดู-อารบิก (ประวัติคณิตศาสตร์)?

อ.ศรัญญา คันธาชีพ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ให้ข้อมูลว่า เครื่องปั้นดินเผา เครื่องจักสาน และการทอผ้าบันทึกว่ามนุษย์รู้จักการนับจำนวนซึ่งเป็นพื้นฐานของคณิตศาสตร์มาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ในอารยธรรมอียิปต์ เมโสโปเตเมีย หรือกรีกโบราณ ก็พบวิวัฒนาการความก้าวหน้าของคณิตศาสตร์แขนงต่างๆ มาเป็นระยะๆ
แต่ที่ยังผลมาถึงความก้าวหน้าทางคณิตศาสตร์สากลจนเรียกได้ว่าเป็น \"การปฏิวัติทางคณิตศาสตร์\" และใช้ในปัจจุบัน มาจากเมื่ออินเดียใช้เลข 0 ในระบบเลขฐาน 10 ทำให้การเขียนตัวเลขและการคำนวณทดไปเรื่อยๆ อย่างเป็นระบบจาก 10 100 1000 ไม่มีที่สิ้นสุด และแม้ไม่เรียกว่าอินเดียเป็นชาติแรกที่ค้นพบระบบเลขฐาน 10 ที่ในอดีตเคยใช้มาแล้ว แต่อียิปต์หรือโรมันก็ไม่ได้ใช้เลข 0 เพียงใช้สัญลักษณ์ที่ต่างกันแทนเลข 10 100 1000
ยังเป็นที่ถกเถียงด้วยว่าอินเดียเป็นอารยธรรมแรกที่คิดค้นการใช้ 0 หรือได้รับอิทธิพลจากอาหรับ หรืออาหรับรับจากอินเดีย ที่ถือข้างอินเดียอธิบายว่าจารึกของอินเดียตั้งแต่ค.ศ.595
อัพเดต2: ได้ปรากฏเลข 1-9 และ 0 แล้ว ซึ่งเป็นช่วงก่อนความเจริญของอารยธรรมอาหรับ เมื่ออาหรับนำไปใช้และเผยแพร่ในโลกตะวันตก จึงทำให้เข้าใจว่าอาหรับเป็นผู้ค้นพบและเรียกระบบตัวเลขแบบนี้ว่า \"เลขอารบิก\"
แต่เนื่องจากหลักฐานไม่ชัดเจน จึงมีการเรียกระบบตัวเลขนี้อย่างประนีประนอมว่า \"ระบบเลขฮินดู-อารบิก\" (Hindu-Arabic System) เป็นการยอมรับว่าอินเดียมีบทบาทสำคัญคู่กับอาหรับในการประดิษฐ์และพัฒนาตัวเลขระบบนี้


ตัวเลข  


รถไฟ

เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้แทนจำนวน ซึ่งถูกคิดขึ้นมาก่อน เศษส่วนและทศนิยม


ประวัติของตัวเลขเริ่มต้นตั้งแต่ตอนที่มนุษย์รู้จัก "การเทียบสิ่งของด้วยวิธีหนึ่งต่อหนึ่ง" เช่น 
เทียบสัตว์ 1 ตัว กับ นิ้วมือ 1 นิ้ว บรรพบุรุษของเราไม่มีตัวเลขแต่ก็รู้จักการนับ สิ่งแวดล้อมต่างๆ ที่คุ้นเคยมักจะถูกนำมาเอามาใช้แทนจำนวนตัวเลข ที่นิยมมากที่สุด คือ นิ้วมือ เช่น นิ้วก้อยแทนหนึ่ง นิ้วนางแทนสอง นิ้วกลางแทนสาม ศอกแทนแปด ไหล่แทนเก้า ไหปลาร้าแทนสิบ นอกจากนี้ยังมีการวาดรูปสัตว์ต่างๆ แทนจำนวนตัวเลขอีกด้วย แต่เมื่อความต้องการที่จะแลกเปลี่ยนสินค้าเพิ่มขึ้น ความต้องการเกี่ยวกับตัวเลขก็มากขึ้นตามไปด้วย การนับโดยใช้นิ้วหรือสิ่งของมาแทนก็ไม่เพียงพอ วิธีการแก้ปัญหาในครั้งแรก คือ การใช้ปกเชือก ซึ่งอาจเรียกระบบปมเชือกนี้ว่าเป็นตัวเลขชุดแรกของมนุษย์ก็ได้
คนโบราณบางแห่งใช้ปมเชือกบันทึกจำนวน เช่น พวกอินคาในอเมริกาใต้ เขาใช้ปมชนิดหนึ่งแทนจำนวนหนึ่ง และให้ทุกคนท่องจำปมต่างๆ ให้เข้าใจตรงกันว่าเป็นจำนวนอะไร วิธีนี้มีชื่อว่า "กีปู" 
บางทีเขาใช้กีปูในการบันทึกเหตุการณ์บางอย่างด้วยเช่นกัน
ส่วนเลขศูนย์นั้น กล่าวกันว่า เกิดขึ้นในอินเดีย แต่ยังมีความคิดเห็นที่ยังไม่ตรงกันเกี่ยวกับเรื่องเลขศูนย์นี้ว่าต้นกำเนิดเป็นสัญลักษณ์แทนอะไร บางคนว่าเป็นสัญลักษณ์แทนดวงอาทิตย์ บางคนว่าเป็นสัญลักษณ์แทนภูติผีปีศาจ ข้อเท็จจริงเป็นอย่างไรก็ตาม การมีศูนย์นี้สำคัญมากสำหรับการพัฒนาตัวเลขที่เกิดขึ้นมาภายหลัง

ปัจจุบันตัวเลข 1,2,3,??. มีต้นกำเนิดในอินเดีย และมาแพร่หลายในยุโรปโดยผ่านชาวอาหรับ จึงมีชื่อเรียกว่า "ตัวเลขฮินดูอารบิก"



ตารางแบ่งตามอักษร


Value
0
1
2
3
4
5
6
7
8
9
อาระบิกตะวันตก
٠
١
٢
٣
٤
٥
٦
٧
٨
٩
อาระบิกตะวันออก
۰
۱
۲
۳
۴
۵
۶
۷
۸
۹
เทวนาครี
คุชราต
Gurmukhi
Limbu
เบงกาลี
Oriya
Telugu
Kannada
Malayalam
ทมิฬ
ทิเบต

ที่มา :https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9A%E0%B8%B4%E0%B8%81